สำนักงานพาณิชย์จังหวัดสมุทรสาคร
เลขที่ 90/1 หมู่ที่ 1 ตำบลบางโทรัด อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000
โทรศัพท์ : 034-427-115 Email : sm_ops@moc.go.th
วิสัยทัศน์/ยุทธศาสตร์จังหวัด
วิสัยทัศน์ |
---|
เป็นศูนย์กลางการผลิตอาหารทะเล เพื่อความเป็นหนึ่งในฐานะครัวของโลก เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางเลือกใหม่ ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่อาศัย |
พันธกิจ |
---|
1) สร้างสมดุลสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน |
2) พัฒนาการประมง อุตสาหกรรมประมงต่อเนื่อง การเกษตร และอุตสาหกรรมอื่น ๆ ให้ได้ มาตรฐานสากลและเป็นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ |
3) บริหารจัดการเเรงงานต่างด้าวให้สามารถอยุ่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข |
4) พัฒนาสังคม ชุมชน ให้มีค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดีงาม พร้อมพัฒนาการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที |
5) พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เต็มตามศักยภาพและสร้างสังคมใฝ่คุณธรรม |
เป้าประสงค์ |
---|
1) เพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าแปรรูปด้านประมงและเกษตรเพื่อเสริมบทบาทประเทศไทยในฐานะครัวของโลก |
2) เพิ่มรายได้การท่องเที่ยวจากแหล่งและรูปแบบการท่องเที่ยวใหม่ ที่เน้นสิ่งแวดล้อม ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสุขภาพ |
3) สร้างและปรับปรุงเส้นทางคมนาคมระหว่างจังหวัดให้มีมาตรฐานเดียวกันเพื่อเป็นประตูสู่ภาคใต้ และประเทศเพื่อนบ้าน |
4) ฟื้นฟูระบบนิเวศ เพิ่มปริมาณสัตว์น้ำและลดการกัดเซาะพื้นที่ชายฝั่งทะเล |
5) สร้างและจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมเมือง เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน |
ประเด็นยุทธศาสตร์ | |
---|---|
|
|
1) การพัฒนาคุณภาพแม่น้ าท่าจีนและคลอง | |
2) การป้องกันและแก้ไขการกัดเซาะชายฝั่งและแผ่นดินทรุดตัว | |
3) การบริหารจัดการปัญหาขยะอย่างเป็นระบบ | |
4) การป้องกันและแก้ไขมลภาวะอื่น ๆ | |
5) การจัดระบบผังเมืองและโครงสร้างพื้นฐาน (Zoning) | |
6) การสร้างจิตสำนึกของประชาชน | |
|
|
1) การจัดท าผังเมืองของการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ชัดเจนไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในการใช้ ทรัพยากรต่าง ๆ | |
2) การพัฒนามาตรฐานการผลิตของทุกภาคการผลิตอย่างครบวงจรตั้งแต่ต้นน้ าจนถึง ปลายน้ าให้ได้มาตรฐานสากล | |
3) การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตโดยการพัฒนากระบวนการผลิตและลดต้นทุนการ ผลิตของทุกภาคการผลิต | |
4) การอนุรักษ์พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์น้ าของจังหวัดเพื่อคงความหลากหลายทางชีวภาพ | |
|
|
1) การจัดการที่ตั้งของอุตสาหกรรมที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและการพัฒนาจังหวัด | |
2) การลดผลกระทบของภาคอุตสาหกรรมต่อสิ่งแวดล้อมโดยรอบทั้งในระดับพื้นที่ (Local) และระดับโลก (Global) | |
3) การจัดการกากของเสียหรือการแปรรูปกากของเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิต อย่างมีประสิทธิภาพ | |
4) การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำและใช้พลังงาน | |
5) การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเขตประกอบการอุตสาหกรรมและการสร้าง เครือข่ายอุตสาหกรรมเชิงนิเวศที่มีระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย พลังงานและมาตรฐาน แรงงานตามมาตรฐาน | |
|
|
1) การแก้ปัญหาแรงงานต่างด้าวนอกระบบ | |
2) การจัดระบบแรงงานต่างด้าวให้เป็นไปตามความต้องการการจ้างงาน | |
3) การพัฒนาคุณภาพชีวิตของแรงงานต่างด้าว | |
4) พัฒนาคุณภาพชีวิตของแรงงานต่างด้าวทั้งความเป็นอยู่ วัฒนธรรม และสาธารณสุข | |
|
|
1) การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชนให้พร้อมต่อการ เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน | |
2) การพัฒนานักเรียน นักศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบและนอกระบบให้สอดคล้อง กับความต้องการของตลาดแรงงานและการเข้าร่วมเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน | |
3) การพัฒนาภาคประชาสังคมให้เข้มแข็งเพื่อมีส่วนร่วมในการวางแผนและบริหาร โครงการ ตลอดจนดูแลผลประโยชน์ของส่วนรวมในฐานะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรง | |
4) การสร้างค่านิยม จิตสำนึกความเป็นไทยที่เป็นที่ยอมรับร่วมกันบนฐานของความไว้เนื้อ เชื่อใจและเกื้อกูลกันของประชาชนในจังหวัด | |
5) การส่งเสริมการเรียนรู้ทางวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และอัตลักษณ์ ที่โดดเด่นของชุมชนที่บ่งบอกถึงความเป็นรากเหง้าของจังหวัด | |
|
|
1) การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติและเชิงประวัติศาสตร์ให้สอดคล้องกับ ความสามารถและศักยภาพของจังหวัด | |
2) การส่งเสริมการลงทุนด้านสิ่งอ านวยความสะดวกภาคการท่องเที่ยว | |
3) การพัฒนาขีดความสามารถของการท่องเที่ยวให้เป็นแหล่งรายได้หลักของจังหวัด | |
|
|
1) การจัดทำแผนปฏิบัติการระยะกลาง (แผนปฏิบัติการ 4 ปี) และแผนปฏิบัติการระยะสั้น (แผนปฏิบัติการประจำปี) โดยบูรณาการแผนในทุกระดับเพื่อสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์จังหวัด 20 ปี เพื่อให้มีการด าเนินงานตามแผนอย่างต่อเนื่อง | |
2) การเผยแพร่และเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของแผน ยุทธศาสตร์จังหวัด 20 ปี เพื่อให้ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่และบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้ทราบ มีส่วนร่วม และให้การ สนับสนุนอย่างกว้างขวางเพื่อให้การน าแผนสู่การปฏิบัติเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการถ่ายทอดความรู้ สู่ผู้ปฏิบัติและผู้เกี่ยวข้องอย่างสม่ าเสมอและต่อเนื่องตลอดช่วงระยะเวลาของแผน | |
3) การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศและการเชื่อมโยงโครงข่ายข้อมูลข่าวสารระหว่าง หน่วยงานระดับนโยบาย ระดับพื้นที่และท้องถิ่น ให้เป็นระบบที่เข้าถึงได้ง่ายและสามารถใช้ประโยชน์ร่วมกัน ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว เช่น การนำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนและติดตามประเมินผลในระดับจังหวัด ท้องถิ่น และชุมชน | |
4) การวางระบบการก ากับ ติดตาม และการประเมินผล ที่มุ่งเน้นการประเมินเพื่อการ พัฒนาและปรับปรุงการด าเนินงาน รวมทั้งเพื่อให้ทราบความส าเร็จของยุทธศาสตร์ที่ได้กระท าลงไป โดยมีการ พัฒนาตัวชี้วัดผลส าเร็จของการด าเนินงานทั้งในด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลาในการประเมิน ผู้ประเมิน และแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูล | |
5) การสร้างระบบแรงจูงใจ การฝึกอบรมและพัฒนา เพื่อกระตุ้นให้บุคลากรของจังหวัด สามารถทบทวนผลการปฏิบัติงาน การก าหนดเป้าหมายการท างานและพัฒนาขีดสมรรถนะของตนให้สอดรับ กับแผนงาน โครงการตามยุทธศาสตร์ของจังหวัด |